ความรู้รอบตัวประเทศไทย
----------------------------
หมวดภูมิศาสตร์
-------------------------
พื้นที่
ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,120 ตารางกิโลเมตร หรือ 198,120 ตารางไมล์ อยู่ในอันดับที่ 50 ของโลก เป็นพื้นที่แหล่งน้ำ 2,230 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ป่า 163,539.89 ตารางกิโลเมตร หรือราว 32% ของพื้นที่ประเทศ
ที่ตั้ง
พื้นที่
ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,120 ตารางกิโลเมตร หรือ 198,120 ตารางไมล์ อยู่ในอันดับที่ 50 ของโลก เป็นพื้นที่แหล่งน้ำ 2,230 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ป่า 163,539.89 ตารางกิโลเมตร หรือราว 32% ของพื้นที่ประเทศ
ที่ตั้ง
- ทวีป : เอเชีย
- โซน / อนุทวีป : เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- คาบสมุทร : อินโดจีน
- พิกัด : ละติจูด 5° ถึง 21° เหนือ และลองติจูด 97° ถึง 106° ตะวันออก
- โซน / อนุทวีป : เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- คาบสมุทร : อินโดจีน
- พิกัด : ละติจูด 5° ถึง 21° เหนือ และลองติจูด 97° ถึง 106° ตะวันออก
อาณาเขต
ทิศเหนือ : ติดต่อกับประเทศเมียนมาร์ และประเทศ สปป.ลาว
ทิศใต้ : ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย และอ่าวไทย (ทะเลจีนใต้ / มหาสมุทรแปซิฟิก)
ทิศตะวันออก : ติดต่อประเทศกัมพูชา และประเทศ สปป.ลาว
ทิศตะวันตก : ติดต่อกับประเทศเมียนมาร์ และทะเลอันดามัน (มหาสมุทรอินเดีย)
ทิศใต้ : ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย และอ่าวไทย (ทะเลจีนใต้ / มหาสมุทรแปซิฟิก)
ทิศตะวันออก : ติดต่อประเทศกัมพูชา และประเทศ สปป.ลาว
ทิศตะวันตก : ติดต่อกับประเทศเมียนมาร์ และทะเลอันดามัน (มหาสมุทรอินเดีย)
ทะเล / มหาสมุทร
ประเทศไทยมีพื้นที่ติดกับทะเล 2 แห่ง ได้แก่
1. ทะเลอ่าวไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิก
2. ทะเลอันดามัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดีย
ป่าไม้ / สัตว์ป่า / พื้นที่อนุรักษ์
พื้นที่ป่า : 102,212,434.37 ไร่ (ดูเพิ่มเติม : พื้นที่ป่าแยกรายจังหวัด)
อุทยานแห่งชาติ : 155 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่ออุทยานแห่งชาติในประเทศไทย)
วนอุทยาน : 91 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อวนอุทยานในประเทศไทย)
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า : 62 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าในประเทศไทย)
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า : 96 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเขตห้ามล่าสัตว์ป่าในประเทศไทย)
ป่าสงวนแห่งชาติ : 1,221 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อป่าสงวนแห่งชาติในประเทศไทย)
สวนรุกขชาติ : 53 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อสวนรุกขชาติในประเทศไทย)
จังหวัด/อำเภอ
ประเทศไทยมีพื้นที่ติดกับทะเล 2 แห่ง ได้แก่
1. ทะเลอ่าวไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิก
2. ทะเลอันดามัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดีย
ป่าไม้ / สัตว์ป่า / พื้นที่อนุรักษ์
พื้นที่ป่า : 102,212,434.37 ไร่ (ดูเพิ่มเติม : พื้นที่ป่าแยกรายจังหวัด)
อุทยานแห่งชาติ : 155 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่ออุทยานแห่งชาติในประเทศไทย)
วนอุทยาน : 91 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อวนอุทยานในประเทศไทย)
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า : 62 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าในประเทศไทย)
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า : 96 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อเขตห้ามล่าสัตว์ป่าในประเทศไทย)
ป่าสงวนแห่งชาติ : 1,221 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อป่าสงวนแห่งชาติในประเทศไทย)
สวนรุกขชาติ : 53 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : รายชื่อสวนรุกขชาติในประเทศไทย)
จังหวัด/อำเภอ
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : จังหวัดนครราชสีมา (20,493.96 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในประเทศไทย : จังหวัดสมุทรสงคราม (416.70 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ : จังหวัดเชียงใหม่ (20,107 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคเหนือ : จังหวัดลำพูน (4,505.90 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคกลาง : จังหวัดเพชรบูรณ์ (12,668.40 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคกลาง : จังหวัดสมุทรสงคราม (416.70 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : จังหวัดนครราชสีมา (20,493.96 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : จังหวัดหนองคาย (3,027.28 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ : จังหวัดสุราษฎร์ธานี (12,891.47 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคใต้ : จังหวัดภูเก็ต (543.03 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันออก : จังหวัดสระแก้ว (7,195.40 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคตะวันออก : จังหวัดตราด (2,819 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก : จังหวัดกาญจนบุรี (19,483.20 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคตะวันตก : จังหวัดเพชรบุรี (6,225.10 ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไทย : กรุงเทพมหานคร 5,471,588 คน (2566)
- จังหวัดที่มีประชากรน้อยที่สุดในประเทศไทย : จังหวัดสมุทรสงคราม 187,993 คน (2566)
- อำเภอที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก (4,325.40 ตารางกิโลเมตร)
- อำเภอที่เล็กที่สุดในประเทศไทย : อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี (17.30 ตารางกิโลเมตร)
- อำเภอที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในประเทศไทย : อำเภอเมืองสมุทรปราการ 541,170 คน (2566)
- อำเภอที่มีจำนวนประชากรน้อยที่สุดในประเทศไทย : อำเภอเกาะกูด 2,737 คน (2566)
แม่น้ำ
- แม่น้ำที่ยาวที่สุดของประเทศไทย : แม่น้ำชี (765 กิโลเมตร)
- แม่น้ำที่มีความสำคัญมากที่สุดของประเทศไทย : แม่น้ำเจ้าพระยา
- แม่น้ำที่ยาวที่สุดของประเทศไทย : แม่น้ำชี (765 กิโลเมตร)
- แม่น้ำที่มีความสำคัญมากที่สุดของประเทศไทย : แม่น้ำเจ้าพระยา
- แม่น้ำสายสำคัญในภาคต่าง ๆ
- ภาคเหนือ : แม่น้ำปิง แม่น้ำวัง แม่น้ำยม แม่น้ำน่าน แม่น้ำกก แม่น้ำลาว แม่น้ำรวก แม่น้ำอิง แม่น้ำสาย แม่น้ำปาย แม่น้ำยวม และแม่น้ำเมย
- ภาคใต้ : แม่น้ำกระบุรี แม่น้ำหลังสวน แม่น้ำตะกั่วป่า แม่น้ำท่าทอง แม่น้ำพุมดวง แม่น้ำตาปี แม่น้ำปากพนัง แม่น้ำกลาย แม่น้ำตรัง แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำปัตตานี และแม่น้ำโกลก
- ภาคกลาง : แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก แม่น้ำลพบุรี แม่น้ำสะแกกรัง และแม่น้ำแม่กลอง
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล และแม่น้ำสงคราม
- ภาคตะวันออก : แม่น้ำระยอง แม่น้ำจันทบุรี แม่น้ำประแสร์ แม่น้ำตราด และแม่น้ำบางปะกง
- ภาคตะวันตก : แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำแควใหญ่ แม่น้ำแควน้อย แม่น้ำเมย แม่น้ำเพชรบุรี แม่น้ำปราณบุรี และแม่น้ำปิง
ภูเขา / เทือกเขา
- ยอดเขาที่สูงที่สุดของประเทศไทย : ดอยอินทนนท์ มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 2,565 เมตร (8,415 ฟุต)
- เทือกเขาที่สำคัญของประเทศไทย
- เทือกเขาตะนาวศรี
- เทือกเขาถนนธงชัย
- เทือกเขาพนมดงรัก
- เทือกเขาสันกาลาคีรี
- เทือกเขาผีปันน้ำ
- เทือกเขาดงพญาเย็น
- เทือกเขาภูพาน
- เทือกเขาภูเก็ต
เกาะ
ประเทศไทยมีเกาะทั้งหมด 936 เกาะ แบ่งออกเป็น
- เกาะในอ่าวไทย จำนวน 374 เกาะ
- เกาะในทะเลอันดามัน จำนวน 562 เกาะ
- เกาะในอ่าวไทย จำนวน 374 เกาะ
- เกาะในทะเลอันดามัน จำนวน 562 เกาะ
เกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
- อันดับ 1 เกาะภูเก็ต พื้นที่ 514.675 ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทะเลอันดามัน
- อันดับ 1 เกาะภูเก็ต พื้นที่ 514.675 ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทะเลอันดามัน
- อันดับ 2 เกาะสมุย พื้นที่ 236.079 ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในอ่าวไทย
- อันดับ 3 เกาะช้าง พื้นที่ 212.404 ตารางกิโลเมตร อยู่ในอ่าวไทย
- อันดับ 4 เกาะตะรุเตา พื้นที่ 150.840 ตารางกิโลเมตร อยู่ในทะเลอันดามัน
- อันดับ 5 เกาะพะงัน พื้นที่ 122.017 ตารางกิโลเมตร อยู่ในอ่าวไทย
ดูเพิ่มเติม :
10 อันดับเกาะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
10 อันดับเกาะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
จุดสำคัญทางภูมิศาสตร์
- จุดเหนือสุด : อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย พิกัด : 20°28′N 99°57′E
- จุดใต้สุด : อำเภอเบตง จังหวัดยะลา พิกัด : 5°37′N 101°8′E
- จุดตะวันออกสุด : อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี พิกัด : 15°38′N 105°23′E
- จุดตะวันตกสุด : อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พิกัด : 18°34′N 97°21′E
- จุดใต้สุด : อำเภอเบตง จังหวัดยะลา พิกัด : 5°37′N 101°8′E
- จุดตะวันออกสุด : อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี พิกัด : 15°38′N 105°23′E
- จุดตะวันตกสุด : อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พิกัด : 18°34′N 97°21′E
อื่น ๆ
- อ่างเก็บน้ำที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : อ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ มีความจุ 17,745 ล้านลูกบาศก์เมตร
- แหล่งน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ มีขนาด 132,737 ไร่
- ทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : ทะเลสาบสงขลา
- พรมแดนทางบก : 4,863 กิโลเมตร
- ความยาวชายฝั่งทะเล : 3,219 กิโลเมตร
- ทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : ทะเลสาบสงขลา
- พรมแดนทางบก : 4,863 กิโลเมตร
- ความยาวชายฝั่งทะเล : 3,219 กิโลเมตร
----------------------------
หมวดสังคมศาสตร์
----------------------------
ประชากร
ตามฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด 66,052,615 คน แบ่งเป็น
- ชาย : 32,224,008 คน
- หญิง : 3,828,607 คน
จำนวนครัวเรือน : 28,188,470 ครัวเรือน
จำนวนประชากรแยกรายภาค
- ภาคเหนือ : 6,290,583 คน
- ภาคกลาง : 20,099,945 คน
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : 21,716,975 คน
- ภาคใต้ : 9,512,975 คน
- ภาคตะวันออก : 4,945,751 คน
- ภาคตะวันตก : 3,486,386 คน
ปิรามิดประชากรไทย |
จำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ
- 0-14 ปี ชาย 5,454,539 หญิง 5,151,825 คิดเป็น 16.05%
- 15-24 ปี ชาย 4,221,749 หญิง 4,023,668 คิดเป็น 12.48%
- 25-54 ปี ชาย 14,712,579 หญิง 15,005,961 คิดเป็น 44.97%
- 55-64 ปี ชาย 41,36,063 หญิง 4,748,248 คิดเป็น 13.44%
- 65 ปีขึ้นไป ชาย 3,745,685 หญิง 4,890,158 คิดเป็น 13.07%
ดูเพิ่มเติม : จำนวนประชากรประเทศไทยแยกรายจังหวัด
ชาติพันธุ์
- ชาติพันธุ์ไทย 86%
- ไทยภาคกลาง 39%
- ไทยอีสาน 28%
- ไทยเหนือ (คนเมือง) 10%
- ไทยถิ่นใต้ 9%
- ชาติพันธุ์เขมร 3%
- ชาติพันธุ์มลายู 2%
- ชาติพันธุ์ไทยชนกลุ่มน้อย 9% (68 กลุ่ม)
ภาษา
- ภาษาราชการ : ภาษาไทยกลาง
- ภาษาถิ่นภาคเหนือ : ภาษาเหนือ / คำเมือง
- ภาษาถิ่นภาคใต้ : ภาษาใต้ / ภาษามาลายู
- ภาษาถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ภาษาอีสาน / ภาษาลาว
หมายเหตุ นับเฉพาะภาษาหลัก ไม่นับรวมภาษาถิ่นย่อย ๆ และภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีอีกนับร้อยภาษา
- ภาษาราชการ : ภาษาไทยกลาง
- ภาษาถิ่นภาคเหนือ : ภาษาเหนือ / คำเมือง
- ภาษาถิ่นภาคใต้ : ภาษาใต้ / ภาษามาลายู
- ภาษาถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ภาษาอีสาน / ภาษาลาว
หมายเหตุ นับเฉพาะภาษาหลัก ไม่นับรวมภาษาถิ่นย่อย ๆ และภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีอีกนับร้อยภาษา
ศาสนา
ตามข้อมูลสถิติ คนไทยนับถือศาสนาดังนี้
ตามข้อมูลสถิติ คนไทยนับถือศาสนาดังนี้
- ศาสนาพุทธ 93.5%
- ศาสนาอิสลาม 5.4%
- ศาสนาคริสต์ 1.13%
- ศาสนาฮินดู 0.02%
- ไม่มีศาสนา / ไม่ระบุ 0.003%
---------------------------------
หมวดพระมหากษัตริย์
---------------------------------
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของไทย
- พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ องค์ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์นานที่สุดของไทย
- พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี ครองราชย์นาน 70 ปี
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์สั้นที่สุด
- สมเด็จพระเจ้าทองลัน แห่งกรุงศรีอยุธยา ครองราชย์นาน 7 วัน
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรสุโขทัย
- พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรอยุธยา
- สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรกรุงธนบุรี
- สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร์
- สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
- พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ องค์ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์นานที่สุดของไทย
- พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี ครองราชย์นาน 70 ปี
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์สั้นที่สุด
- สมเด็จพระเจ้าทองลัน แห่งกรุงศรีอยุธยา ครองราชย์นาน 7 วัน
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรสุโขทัย
- พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรอยุธยา
- สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรกรุงธนบุรี
- สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร์
- สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ดูเพิ่มเติม :
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของไทย
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดของประเทศไทย 10 พระองค์
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์สั้นที่สุดของประเทศไทย
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดของประเทศไทย 10 พระองค์
พระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์สั้นที่สุดของประเทศไทย
ราชวงศ์ของอาณาจักรกรุงศรีอยธยา
กรุงศรีอยุธยามี 5 ราชวงศ์ ได้แก่
1. ราชวงศ์อู่ทอง มีสมเด็จพระเจ้าอู่ทองเป็นองค์ต้นราชวงศ์
2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ มีขุนหลวงพะงั่วเป็นองค์ต้นราชวงศ์
3. ราชวงศ์พระร่วง มีสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเป็นองค์ต้นราชวงศ์
4. ราชวงศ์ปราสาททอง มีสมเด็จพระเจ้าปราสาททองเป็นองค์ต้นราชวงศ์
5. บ้านพลูหลวง มีสมเด็จพระเพทราชาเป็นองค์ต้นราชวงศ์
กรุงศรีอยุธยามี 5 ราชวงศ์ ได้แก่
1. ราชวงศ์อู่ทอง มีสมเด็จพระเจ้าอู่ทองเป็นองค์ต้นราชวงศ์
2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ มีขุนหลวงพะงั่วเป็นองค์ต้นราชวงศ์
3. ราชวงศ์พระร่วง มีสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเป็นองค์ต้นราชวงศ์
4. ราชวงศ์ปราสาททอง มีสมเด็จพระเจ้าปราสาททองเป็นองค์ต้นราชวงศ์
5. บ้านพลูหลวง มีสมเด็จพระเพทราชาเป็นองค์ต้นราชวงศ์
ดูเพิ่มเติม :
รายละเอียดราชวงศ์ของอาณาจักรอยุธยา
พระมหากษัตริย์ที่ได้รับการเทิดพระเกียรติเป็นมหาราช
มหาราชของประเทศไทยมี 7 พระองค์ ได้แก่
รายละเอียดราชวงศ์ของอาณาจักรอยุธยา
พระมหากษัตริย์ที่ได้รับการเทิดพระเกียรติเป็นมหาราช
มหาราชของประเทศไทยมี 7 พระองค์ ได้แก่
- พ่อขุนรามคำแหงมหาราช แห่งอาณาจักรสุโขทัย
- สมเด็จพระนเรศวรมหาราช แห่งอาณาจักรอยุธยา
- สมเด็จพระนารายณ์มหาราช แห่งอาณาจักรอยุธยา
- สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แห่งอาณาจักรกรุงธนบุรี
- สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระปิยมหาราช) รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
- พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พระภัทรมหาราช) รัชกาลที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
จำนวนพระมหากษัตริย์ของประเทศไทย
ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์มาแล้ว 53 พระองค์ แบ่งออกเป็น
- อาณาจักรสุโขทัย 9 พระองค์
- อาณาจักรอยุธยา 33 พระองค์
- อาณาจักรกรุงธนบุรี 1 พระองค์
- อาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร์ 10 พระองค์
ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์มาแล้ว 53 พระองค์ แบ่งออกเป็น
- อาณาจักรสุโขทัย 9 พระองค์
- อาณาจักรอยุธยา 33 พระองค์
- อาณาจักรกรุงธนบุรี 1 พระองค์
- อาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร์ 10 พระองค์
ดูเพิ่มเติม :
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์
รายพระนามพระมหากษัตริย์อาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์อาณาจักรอยุธยา
รายพระนามมหาราชของประเทศไทย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์
รายพระนามพระมหากษัตริย์อาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์อาณาจักรอยุธยา
รายพระนามมหาราชของประเทศไทย
-----------------------------------------
หมวดการเมืองการปกครอง
หมวดการเมืองการปกครอง
-----------------------------------------
เมืองหลวง
เมืองหลวงปัจจุบัน : กรุงเทพมหานคร (Bangkok, Krung Thep Maha Nakhon)
เมืองหลวงเก่า :
- กรุงสุโขทัย (อาณาจักรสุโขทัย)
- กรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา, เมืองพระพิษณุโลกสองแคว, เมืองละโว้ (อาณาจักรอยุธยา)
- กรุงธนบุรี (อาณาจักรกรุงธนบุรี)
- นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ (อาณาจักรล้านนา)
เมืองหลวง
เมืองหลวงปัจจุบัน : กรุงเทพมหานคร (Bangkok, Krung Thep Maha Nakhon)
เมืองหลวงเก่า :
- กรุงสุโขทัย (อาณาจักรสุโขทัย)
- กรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา, เมืองพระพิษณุโลกสองแคว, เมืองละโว้ (อาณาจักรอยุธยา)
- กรุงธนบุรี (อาณาจักรกรุงธนบุรี)
- นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ (อาณาจักรล้านนา)
หมายเหต
- เมืองหลวงปัจจุบัน จะใช้ Bangkok หรือ Krung Thep Maha Nakhon ก็ได้ (Bangkok มาจากคำว่าบางกอก หรือ เมืองบางกอก - ชื่อเดิมของกรุงเทพมหานคร)
- เมืองกรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา หรือ จังหวัดอยุธยาในปัจจุบัน
- เมืองพระพิษณุโลกสองแคว คือจังหวัดพิษณุโลกในปัจจุบัน
- เมืองละโว้ หรือ จังหวัดลพบุรีในปัจจุบัน
- เมืองธนบุรี หรือ ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน
- นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ คือ จังหวัดเชียงใหม่ในปัจจุบัน
- เมืองหลวงปัจจุบัน จะใช้ Bangkok หรือ Krung Thep Maha Nakhon ก็ได้ (Bangkok มาจากคำว่าบางกอก หรือ เมืองบางกอก - ชื่อเดิมของกรุงเทพมหานคร)
- เมืองกรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา หรือ จังหวัดอยุธยาในปัจจุบัน
- เมืองพระพิษณุโลกสองแคว คือจังหวัดพิษณุโลกในปัจจุบัน
- เมืองละโว้ หรือ จังหวัดลพบุรีในปัจจุบัน
- เมืองธนบุรี หรือ ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน
- นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ คือ จังหวัดเชียงใหม่ในปัจจุบัน
ภาค
ประเทศไทยแบ่งออกเป็น 6 ภาค ได้แก่
- ภาคเหนือ มี 9 จังหวัด
- ภาคกลาง มี 21 จังหวัด และ 1 เขตปกครองรูปแบบพิเศษ (22 จังหวัดโดยอนุโลม)
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 20 จังหวัด
- ภาคใต้ มี 14 จังหวัด
- ภาคตะวันออก มี 7 จังหวัด
- ภาคตะวันตก มี 5 จังหวัด
ประเทศไทยแบ่งออกเป็น 6 ภาค ได้แก่
- ภาคเหนือ มี 9 จังหวัด
- ภาคกลาง มี 21 จังหวัด และ 1 เขตปกครองรูปแบบพิเศษ (22 จังหวัดโดยอนุโลม)
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 20 จังหวัด
- ภาคใต้ มี 14 จังหวัด
- ภาคตะวันออก มี 7 จังหวัด
- ภาคตะวันตก มี 5 จังหวัด
ดูเพิ่มเติม :
ภาคของประเทศไทย
ภาคเหนือของประเทศไทย
ภาคกลางของประเทศไทย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ภาคใต้ของประเทศไทย
ภาคตะวันออกของประเทศไทย
ภาคตะวันตกของประเทศไทย
การแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค
จังหวัด : ประเทศไทยมี 76 จังหวัด กับ 2 เขตปกครองพิเศษ (กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา) แต่มักจะถือกันว่าประเทศไทยมี 77 จังหวัดโดยอนุโลม ส่วนพัทยาอยู่ในอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้บริหารสูงสุด หรือ หัวหน้าส่วนราชการ
อำเภอ : ประเทศไทยมี 878 อำเภอ กับ 50 เขต (กรุงเทพมหานคร)
ตำบล : ประเทศไทยมี 7,255 ตำบล กับ 180 แขวง (กรุงเทพมหานคร) (ข้อมูล ณ พ.ศ. 2565)
หมู่บ้าน : ประเทศไทยมี 75,086 หมู่บ้าน (ข้อมูล ณ พ.ศ. 2565)
ภาคของประเทศไทย
ภาคเหนือของประเทศไทย
ภาคกลางของประเทศไทย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ภาคใต้ของประเทศไทย
ภาคตะวันออกของประเทศไทย
ภาคตะวันตกของประเทศไทย
การแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค
จังหวัด : ประเทศไทยมี 76 จังหวัด กับ 2 เขตปกครองพิเศษ (กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา) แต่มักจะถือกันว่าประเทศไทยมี 77 จังหวัดโดยอนุโลม ส่วนพัทยาอยู่ในอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้บริหารสูงสุด หรือ หัวหน้าส่วนราชการ
อำเภอ : ประเทศไทยมี 878 อำเภอ กับ 50 เขต (กรุงเทพมหานคร)
ตำบล : ประเทศไทยมี 7,255 ตำบล กับ 180 แขวง (กรุงเทพมหานคร) (ข้อมูล ณ พ.ศ. 2565)
หมู่บ้าน : ประเทศไทยมี 75,086 หมู่บ้าน (ข้อมูล ณ พ.ศ. 2565)
หมายเหตุ ผู้ว่าราชการจังหวัดจะได้รับการแต่งตั้งจากกระทรวงมหาดไทย ยกเว้นกรุงเทพมหานครที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทย
- กรุงเทพมหานคร
- จังหวัดกระบี่
- จังหวัดกาญจนบุรี
- จังหวัดกาฬสินธุ์
- จังหวัดกำแพงเพชร
- จังหวัดขอนแก่น
- จังหวัดจันทบุรี
- จังหวัดฉะเชิงเทรา
- จังหวัดชลบุรี
- จังหวัดชัยนาท
- จังหวัดชัยภูมิ
- จังหวัดชุมพร
- จังหวัดเชียงราย
- จังหวัดเชียงใหม่
- จังหวัดตรัง
- จังหวัดตราด
- จังหวัดตาก
- จังหวัดนครนายก
- จังหวัดนครปฐม
- จังหวัดนครพนม
- จังหวัดนครราชสีมา
- จังหวัดนครศรีธรรมราช
- จังหวัดนครสวรรค์
- จังหวัดนนทบุรี
- จังหวัดนราธิวาส
- จังหวัดน่าน
- จังหวัดบึงกาฬ
- จังหวัดบุรีรัมย์
- จังหวัดปทุมธานี
- จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- จังหวัดปราจีนบุรี
- จังหวัดปัตตานี
- จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- จังหวัดพะเยา
- จังหวัดพังงา
- จังหวัดพัทลุง
- จังหวัดพิจิตร
- จังหวัดพิษณุโลก
- จังหวัดเพชรบุรี
- จังหวัดเพชรบูรณ์
- จังหวัดแพร่
- จังหวัดภูเก็ต
- จังหวัดมหาสารคาม
- จังหวัดมุกดาหาร
- จังหวัดแม่ฮ่องสอน
- จังหวัดยโสธร
- จังหวัดยะลา
- จังหวัดร้อยเอ็ด
- จังหวัดระนอง
- จังหวัดระยอง
- จังหวัดราชบุรี
- จังหวัดลพบุรี
- จังหวัดลำปาง
- จังหวัดลำพูน
- จังหวัดเลย
- จังหวัดศรีสะเกษ
- จังหวัดสกลนคร
- จังหวัดสงขลา
- จังหวัดสตูล
- จังหวัดสมุทรปราการ
- จังหวัดสมุทรสงคราม
- จังหวัดสมุทรสาคร
- จังหวัดสระแก้ว
- จังหวัดสระบุรี
- จังหวัดสิงห์บุรี
- จังหวัดสุโขทัย
- จังหวัดสุพรรณบุรี
- จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- จังหวัดสุรินทร์
- จังหวัดหนองคาย
- จังหวัดหนองบัวลำภู
- จังหวัดอ่างทอง
- จังหวัดอำนาจเจริญ
- จังหวัดอุดรธานี
- จังหวัดอุตรดิตถ์
- จังหวัดอุทัยธานี
- จังหวัดอุบลราชธานี
ดูเพิ่มเติม :
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยพร้อมขนาดพื้นที่
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามตัวอักษร
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามจำนวนประชากร
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามความหนาแน่นประชากร
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามค่าแรงขั้นต่ำ
รายชื่ออำเภอในประเทศไทย
รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- องค์การบริหารส่วนจังหวัด 76 แห่ง
- เทศบาลนคร 30 แห่ง
- เทศบาลเมือง 195 แห่ง
- เทศบาลตำบล 2,247 แห่ง
- องค์การบริหารส่วนตำบล 5,300 แห่ง
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยพร้อมขนาดพื้นที่
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามตัวอักษร
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามจำนวนประชากร
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามความหนาแน่นประชากร
รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามค่าแรงขั้นต่ำ
รายชื่ออำเภอในประเทศไทย
รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- องค์การบริหารส่วนจังหวัด 76 แห่ง
- เทศบาลนคร 30 แห่ง
- เทศบาลเมือง 195 แห่ง
- เทศบาลตำบล 2,247 แห่ง
- องค์การบริหารส่วนตำบล 5,300 แห่ง
เขตปกครองพิเศษ
- กรุงเทพมหานคร
- เมืองพัทยา
- กรุงเทพมหานคร
- เมืองพัทยา
ดูเพิ่มเติม :
รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 (ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญมาแล้ว 20 ฉบับ - มากที่สุดในเอเชีย)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 (ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญมาแล้ว 20 ฉบับ - มากที่สุดในเอเชีย)
รัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย คือ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกนี้ให้แก่ปวงชนชาวไทยทุกคน เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
ดูเพิ่มเติม :
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ดูเพิ่มเติม :
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ระบอบการปกครอง
ประเทศไทยใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส่วนในอดีตนั้นเราใช้การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัย และใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัชกาลที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ประเทศไทยใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส่วนในอดีตนั้นเราใช้การปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัย และใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัชกาลที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ในระบบปัจจุบัน พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ผ่าน 3 องค์กร กล่าวคือ
- อำนาจบริหาร ผ่านคณะรัฐมนตรี
- อำนาจนิติบัญญัติ ผ่านรัฐสภา
- อำนาจตุลาการ ผ่านศาลยุติธรรม
- อำนาจบริหาร ผ่านคณะรัฐมนตรี
- อำนาจนิติบัญญัติ ผ่านรัฐสภา
- อำนาจตุลาการ ผ่านศาลยุติธรรม
การเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งหลังสุด
ประเทศไทยเปลี่ยนการปกครองครั้งหลังสุดจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 (โดยการยึดอำนาจของคณะราษฎร์) และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
ประเทศไทยเปลี่ยนการปกครองครั้งหลังสุดจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 (โดยการยึดอำนาจของคณะราษฎร์) และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
นายกรัฐมนตรี
ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 30 คน นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือนายเศรษฐา ทวีสิน ส่วนนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทยคือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 30 คน นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือนายเศรษฐา ทวีสิน ส่วนนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทยคือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
ดูเพิ่มเติม :
รายชื่อนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
คณะรัฐมนตรีของประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
ประวัติการเลือกตั้ง ส.ส. ในประเทศไทย
รายชื่อนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
คณะรัฐมนตรีของประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
ประวัติการเลือกตั้ง ส.ส. ในประเทศไทย
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)
มีจำนวน 500 คน แบ่งเป็น ส.ส.เขตจำนวน 400 คน และ ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อจำนวน 100 คน ทั้งหมดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน
มีจำนวน 500 คน แบ่งเป็น ส.ส.เขตจำนวน 400 คน และ ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อจำนวน 100 คน ทั้งหมดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน
สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.)
มีจำนวน 250 คน มาจากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิวัติ (ชุดปัจจุบัน)
มีจำนวน 250 คน มาจากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิวัติ (ชุดปัจจุบัน)
การบริหาราชการแผ่นดิน
ปัจจุบันประเทศไทยของเราแบ่งการบริหารราชการแผ่นดินออกเป็น 20 กระทรวง/เทียบเท่ากระทรวง ดังนี้
- สำนักนายกรัฐมนตรี
- กระทรวงกลาโหม
- กระทรวงการคลัง
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
- กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- กระทรวงคมนาคม
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
- กระทรวงพลังงาน
- กระทรวงพาณิชย์
- กระทรวงมหาดไทย
- กระทรวงยุติธรรม
- กระทรวงแรงงาน
- กระทรวงวัฒนธรรม
- กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
- กระทรวงศึกษาธิการ
- กระทรวงสาธารณสุข
- กระทรวงอุตสาหกรรม
ในการบริหารราชการของกระทรวงนั้นจะมีรัฐมนตรีว่าการ (และรัฐมนตรีช่วยว่าการ - ในบางกระทรวง) เป็นผู้กำหนดนโยบาย โดยมีปลัดกระทรวงเป็นหัวหน้าส่วนราชการ ตามมาด้วยอธิบดีกรม และผู้อำนวยการกอง ตามลำดับ
ดูเพิ่มเติม :
รายชื่อกระทรวง ทบวง กรม ในประเทศไทย
รายชื่อกระทรวง ทบวง กรม ในประเทศไทย
การปฏิวัติรัฐประหารครั้งล่าสุด
เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ก่อการในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คศช.) มีพลเอกประยุทธิ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบกในขณะนั้นเป็นหัวหน้าคณะ โดยยึดอำนาจจากรัฐบาลพลเรือนของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น
----------------------------
หมวดเศรษฐกิจ
----------------------------
- GDP : 17.4 ล้านล้านบาท (2565)
- GDP/Capita : 248,635.3 บาทต่อคนต่อปี (2565)
- ทุนสำรองระหว่างประเทศ : 251,531.82 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (มี.ค. 2566)
- หนี้สาธารณะต่อ GDP : 61.13% ของ GDP, (10,724,775.89 ล้านบาท, ก.พ. 2566)
- จำนวนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ : 888 หลักทรัพย์ (เม.ย. 2566)
- มูลค่าตลาดหลักทรัพย์ : 18,877,595.44 ล้านบาท (25 เม.ย. 2566)
- จำนวนนักท่องเทียว : 39.8 ล้านคน (2019)
- รายได้จากการท่องเที่ยว : 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2019)
- มูลค่าการส่งออก : 287,067.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2565)
- ยอดเงินฝากในระบบธนาคาร : 16,897,574 ล้านบาท (2565)
- กำลังการผลิตไฟฟ้ารวมทั้งประเทศ : 49,509.80 เมกกะวัตต์ (มี.ค. 2566)
- GDP : 17.4 ล้านล้านบาท (2565)
- GDP/Capita : 248,635.3 บาทต่อคนต่อปี (2565)
- ทุนสำรองระหว่างประเทศ : 251,531.82 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (มี.ค. 2566)
- หนี้สาธารณะต่อ GDP : 61.13% ของ GDP, (10,724,775.89 ล้านบาท, ก.พ. 2566)
- จำนวนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ : 888 หลักทรัพย์ (เม.ย. 2566)
- มูลค่าตลาดหลักทรัพย์ : 18,877,595.44 ล้านบาท (25 เม.ย. 2566)
- จำนวนนักท่องเทียว : 39.8 ล้านคน (2019)
- รายได้จากการท่องเที่ยว : 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2019)
- มูลค่าการส่งออก : 287,067.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2565)
- ยอดเงินฝากในระบบธนาคาร : 16,897,574 ล้านบาท (2565)
- กำลังการผลิตไฟฟ้ารวมทั้งประเทศ : 49,509.80 เมกกะวัตต์ (มี.ค. 2566)
------------------
หมวดกีฬา
------------------
กีฬาโอลิมปิก
- เหรียญรางวัลโอลิมปิกรวม : 36 เหรียญ (10 เหรียญทอง 8 เหรียญเงิน และ 18 เหรียญทองแดง)
- เหรียญรางวัลโอลิมปิกเหรียญแรก : พเยาว์ พูนธรัตน์ เหรียญทองแดงกีฬามวยสากลสมัครเล่น รุ่นฟลายเวท กีฬาโอลิมปิก Montreal 1976
- เหรียญทองโอลิมปิกเหรียญแรก : สมรักษ์ คำสิงห์ กีฬามวยสากลสมัครเล่น รุ่นเฟเทอร์เวท กีฬาโอลิมปิก Atlanta 1996
- เหรียญทองล่าสุด : พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ กีฬาเทควันโดหญิง รุ่น 49 กิโลกรัม กีฬาโอลิมปิก Tokyo 2020
- นักกีฬาที่ได้เหรียญรางวัลมากกว่า 1 เหรียญมี 4 คน ได้แก่
- มนัส บุญจำนงค์ กีฬามวยสากลสมัครเล่น 1 เหรียญทอง (Athens 2004) และ 1 เหรียญเงิน (Beijing 2008)
- พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ กีฬาเทควันโด 1 เหรียญทอง (Tokyo 2020) และ 1 เหรียญทองแดง (Rio 2016)
- พิมศิริ ศิริแก้ว กีฬายกน้ำหนัก 2 เหรียญเงิน (London 2012 และ Rio 2016)
- วันดี คำเอี่ยม กีฬายกน้ำหนัก 2 เหรียญทองแดง (Athens 2004 และ Beijing 2008)
รายชื่อนักกีฬาเหรียญทองโอลิมปิก
1. สมรักษ์ คำสิงห์ มวยสากลสมัครเล่น รุ่นเฟเธอร์เวท (Atlanta 1996)
2. วิจารณ์ พลฤทธิ์ มวยสากลสมัครเล่น รุ่นฟลายเวท (Sydney 2000)
3. ปวีณา ทองสุก ยกน้ำหนัก รุ่น 75 กก.หญิง (Athens 2004)
4. อุดมพร พลศักดิ์ ยกน้ำหนัก รุ่น 53 กก. หญิง (Athens 2004)
5. มนัส บุญจำนงค์ มวยสากลสมัครเล่น รุ่นไลท์เวลเตอร์เวท (Athens 2004)
6. ประภาวดี เจริญรัตนธารากูล ยกน้ำหนัก รุ่น 53 กก.หญิง (Beijing 2008)
7. สมจิตร จงจอหอ มวยสากลสมัครเล่น รุ่นฟลายเวท (Beijing 2008)
8. โสภิตา ธนสาร ยกน้ำหนัก รุ่น 48 กก.หญิง (Rio 2016)
9. สุกัญญา ศรีสุราช ยกน้ำหนัก รุ่น 58 กก.หญิง (Rio 2016)
10. พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ เทควันโด รุ่น 49 กก.หญิง (Tokyo 2020)
รายชื่อนักกีฬาเหรียญเงินโอลิมปิก
1. ทวี อัมพรมหา มวยสากลสมัครเล่น รุ่นไลท์เวลเตอร์เวท (Los Angeles 1984)
2. วรพจน์ เพชรขุ้ม มวยสากลสมัครเล่น รุ่นแบนตัมเวท (Athens 2004)
3. มนัส บุญจำนงค์ มวยสากลสมัครเล่น รุ่นไลท์เวลเตอร์เวท (Beijing 2008)
4. บุตรี เผือดผ่อง เทควันโด รุ่น 49 กก. (Beijing 2008)
5. แก้ว พงษ์ประยูร มวยสากลสมัครเล่น รุ่นฟลายเวท (London 2012)
5. แก้ว พงษ์ประยูร มวยสากลสมัครเล่น รุ่นฟลายเวท (London 2012)
6. พิมศิริ ศิริแก้ว ยกน้ำหนัก รุ่น 58 กก. (London 2012)
7. เทวินทร์ หาญปราบ เทควันโด รุ่น 58 กก. (Rio 2016)
8. พิมศิริ ศิริแก้ว ยกน้ำหนัก รุ่น 58 กก. (Rio 2016)
รายชื่อนักกีฬาเหรียญทองแดงโอลิมปิก
1. พเยาว์ พูนธรัตน์ มวยสากลสมัครเล่น รุ่นฟลายเวท (Montreal 1976)
2. ผจญ มูลสัน มวยสากลสมัครเล่น รุ่นแบนตัมเวท (Seoul 1988)
3. อาคม เฉ่งไล่ มวยสากลสมัครเล่น รุ่นเวลเตอร์เวท (Barcelona 1992)
4. วิชัย ราชานนท์ มวยสากลสมัครเล่น รุ่นแบนตัมเวท (Atlanta 1996)
5. พรชัย ทองบุราณ มวยสากลสมัครเล่น รุ่นไลท์มิดเดิลเวท (Sydney 2000)
6. เกษราภรณ์ สุตา ยกน้ำหนัก รุ่น 58 กก. (Sydney 2000)
7. สุริยา ปราสาทหินพิมาย มวยสากลสมัครเล่น รุ่นมิดเดิลเวท (Athens 2004)
8. เยาวภา บุรพลชัย เทควันโด รุ่น 49 กก. (Athens 2004)
9. อารีย์ วิรัฐถาวร ยกน้ำหนัก รุ่น 48 กก. (Athens 2004)
10. วันดี คำเอี่ยม ยกน้ำหนัก รุ่น 58 กก. (Athens 2004)
11. เพ็ญศิริ เหล่าศิริกุล ยกน้ำหนัก รุ่น 48 กก. (Beijing 2008)
12. เพ็ญศิริ เหล่าศิริกุล ยกน้ำหนัก รุ่น 48 กก. (Beijing 2008)
13. วันดี คำเอี่ยม ยกน้ำหนัก รุ่น 58 กก. (Beijing 2008)
14. ชนาธิป ซ้อนขำ เทควันโด รุ่น 49 กก. (London 2012)
15. ศิริภุช กุลน้อย ยกน้ำหนัก รุ่น 58 กก. (London 2012)
16. พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ เทควันโด รุ่น 49 กก. (Rio 2016)
17. สินธุ์เพชร กรวยทอง ยกน้ำหนัก รุ่น 56 กก. (Rio 2016)
18. สุดาพร สีสอนดี มวยสากลสมัครเล่น รุ่นไลท์เวลเตอร์เวท (Tokyo 2020)
กีฬาเอเชียนเกมส์
- ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์มาแล้ว 4 ครั้ง คือในปี ค.ศ. 1966, 1970, 1978 และ 1998
- ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์มาแล้ว 4 ครั้ง คือในปี ค.ศ. 1966, 1970, 1978 และ 1998
- ประเทศไทยได้เหรียญรางวัลรวม 586 เหรียญ แบ่งออกเป็น 132 เหรียญทอง 175 เหรียญเงิน 279 เหรียญทองแดง
กีฬาซีเกมส์
- ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพซีเกมส์มาแล้ว 6 ครั้ง คือในปี ค.ศ. 1959, 1967, 1975, 1985, 1995 และ 2007
- ไทยได้เป็นเจ้าเหรียญทอง 13 ครั้ง คือในปี ค.ศ. 1959, 1965, 1967, 1971, 1973, 1975, 1985, 1995, 1999, 2007, 2009, 2013 และ 2015
- จำนวนเหรียญรางวัล 6,784 เหรียญ แบ่งเป็น 2,453 เหรียญทอง, 2,127 เหรียญเงิน, 2,204 เหรียญทองแดง
- ประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ในครั้งต่อไป คือครั้งที่ 33 ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 9-20 กันยายน พ.ศ. 2568 โดยจะจัดใน 3 จังหวัดคือ กรุงเทพมหานคร จังหวัดชลบุรี และจังหวัดสงขลา
----------------------------
หมวดสิ่งปลูกสร้าง
----------------------------
- เขื่อนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (ก x ย x ส = 187.40 x 4,860 x 301.50 เมตร)
- เขื่อนดินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : เขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
- เขื่อนผลิตไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : เขื่อนศรีนครินทร์ (1,250 M KWH)
- ตึกที่สูงที่สุดในประเทศไทย : ตึกแมกโนเลียส์ วอเตอร์ฟร้อนท์ เรสซิเดนเซส แอท ไอคอนสยาม สูง 317.95 เมตร มี 73 ชั้น
- สนามกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย : สนามราชมังคลากีฬาสถาน
- ถนนที่ยาวที่สุดในประเทศไทย : ถนนเพชรเกษม (ดูเพิ่มเติม : ถนนเพชรเกษม)
- ความยาวถนนทั้งประเทศ : ประมาณ 390,000 กิโลเมตร
- ความยาวทางรถไฟทั้งประเทศ : 4,034 กิโลเมตร
- สะพานที่ยาวที่สุดในประเทศไทย : สะพานเฉลิมพระเกียรติ์ 80 พรรษา (14 กิโลเมตร)
- สะพานที่สูงที่สุดในประเทศ : สะพานกาญจนาภิเษก (สูง 187.6 เมตร)
-------------------
หมวดอื่น ๆ
หมวดอื่น ๆ
-------------------
- รหัสประเทศ : TH / THA
- รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศ : +66
- Time zone : UTC+7 หรือ GMT+7
- Internet TLDs : .th
- สกุลเงิน : บาท (Baht, THB)
- ดอกไม้ประจำชาติ : ดอกราชพฤกษ์ (ดอกคูน, ดอกลมแล้ง)
- สัตว์ประจำชาติ : ช้าง
- กีฬาประจำชาติ : มวยไทย / เซปักตะกร้อ
- วันชาติ : วันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี
- วันปีใหม่ไทย : วันสงกรานต์
- รหัสไปรษณีย์ : ระบบโค้ดตัวเลข 5 ตัว (ดูเพิ่มเติม : รหัสไปรษณีย์ประเทศไทย)
- มรดกโลก : 7 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : มรดกโลกในประเทศไทย)
- อุทยานประวัติศาสตร์ 11 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย)
- รหัสประเทศ : TH / THA
- รหัสโทรศัพท์ระหว่างประเทศ : +66
- Time zone : UTC+7 หรือ GMT+7
- Internet TLDs : .th
- สกุลเงิน : บาท (Baht, THB)
- ดอกไม้ประจำชาติ : ดอกราชพฤกษ์ (ดอกคูน, ดอกลมแล้ง)
- สัตว์ประจำชาติ : ช้าง
- กีฬาประจำชาติ : มวยไทย / เซปักตะกร้อ
- วันชาติ : วันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี
- วันปีใหม่ไทย : วันสงกรานต์
- รหัสไปรษณีย์ : ระบบโค้ดตัวเลข 5 ตัว (ดูเพิ่มเติม : รหัสไปรษณีย์ประเทศไทย)
- มรดกโลก : 7 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : มรดกโลกในประเทศไทย)
- อุทยานประวัติศาสตร์ 11 แห่ง (ดูเพิ่มเติม : อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย)